“ประวิตร วงษ์สุวรรณ” ชี้แจงที่มานาฬิกา – แหวนแล้ว ป.ป.ช.ไม่เปิดรายละเอียดขอตรวจสอบข้อเท็จจริงก่อน
“ประวิตร วงษ์สุวรรณ” ชี้แจงที่มานาฬิกา – แหวนแล้ว ป.ป.ช.ไม่เปิดรายละเอียดขอตรวจสอบข้อเท็จจริงก่อน
“ประวิตร วงษ์สุวรรณ” ชี้แจงที่มานาฬิกา – แหวนแล้ว ป.ป.ช.ไม่เปิดรายละเอียดขอตรวจสอบข้อเท็จจริงก่อน
ศาลแพ่ง พิพากษา “รพ.กรุงเทพ” คืนสิทธิ-รักษาฟรีตลอดชีพแก่สมาชิก “ไลฟ์พริวิเลจ คลับ”
เมื่อวันที่ 1 ธ.ค. 2560 สำนักกิจการในพระดำริพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา กระทรวงยุติธรรม และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้จัดการประชุมตามโครงการส่งเสริมพลังอำนาจ “ผู้ตัดสิน” และ “ผู้ถูกตัดสิน” ในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งวิทยากรท่านหนึ่งในการประชุมดังกล่าวนั้นก็คือ คุณพัทธ์อิทธิ์ จินต์วุฒิ อดีตผู้ต้องขังที่เคยต้องโทษประหารชีวิต
“ธรรศพลฐ์” แจ้งตลท. ซื้อ “หุ้นแอร์เอเชีย” คืนจากกลุ่มคิง เพาเวอร์ มูลค่า 8,279 ล้านบาท
ผู้เขียนในฐานะพลเมืองไทยคนหนึ่ง อยากจะขอวิงวอนให้ผู้รับผิดชอบในการบริหารบ้านเมือง ตั้งแต่นายกรัฐมนตรีลงมา ถึง ครม. ทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้อำนวยการโรงพยาบาลกระทรวงสาธารณสุขทุกคน (ซึ่งบริหารโรงพยาบาลที่ให้การบริการรักษาสุขภาพผู้ป่วยในระบบ 30 บาทมากกว่า80-90 เปอร์เซ็นต์) ได้ช่วยกันระดมสมองว่า พวกท่านจะทำอะไรเพื่อปฏิรูประบบสาธารณสุขและการประกันสุขภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จะปฏิรูประบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (30 บาท) อย่างไร ให้ประชาชนในระบบนี้ได้รับการบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ มีผลลัพธ์เหมาะสม/ดีที่สุดสำหรับผู้ป่วยทุกคน
นายกฯ ยันทุกอย่างยังตามโรดแมป-มติ ครม. จัดของขวัญรับปี’61 เล็งปรับรถไฟความเร็วสูงเป็นเร็วปานกลาง
ภายใต้ความมืด เราต้องการนักต่อสู้ที่จุดคบไฟ ให้แสง ให้ทาง ให้แรงใจแก่คนรุ่นใหม่ ช่วยกันรักษาสิ่งและคุณค่าที่เรารัก แต่เราเริ่มไม่แน่ใจเมื่อต่างฝ่ายต่างใช้ไฟเผาทำลายล้างกันเพื่อประโยชน์ตน หากการต่อสู้ทางการเมืองของผู้ใหญ่เป็นไปอย่างขาดความรับผิดชอบ ขาดกลยุทธ์ และสุดท้ายมีแต่หวนกลับมาที่วังวนเดิม ก็อย่าแปลกใจที่คนหนุ่มสาวที่เคยมีอุดมคติอาจกลายมาเป็นคนกะล่อน ไม่เหลือหลักการ หรืออาจกลายมาเป็นตาแก่ไร้น้ำยา ผิดหวังและปิดตัวเองจากพลัง
เศรษฐกิจดิจิทัลที่แท้จริงต้องมีโครงสร้างพื้นฐานที่ดี 6 ด้าน ระบบชำระเงิน-ดิจิทัลไอดี-โลเคชัน-โลจิสติกส์-ข้อมูล-คน ประกอบขึ้นเป็น Building Block รองรับ พร้อมสู้ 6 ปัญหา แก่-เจ็บ-จน-คนน้อย-ด้อยศึกษา-เหลื่อมล้ำสูง ที่กำลังไล่ล่าไทย
เปิดผลวิจัยล่าสุด กับภาพสะท้อนความท้าทายของ “การประเมินผลลัพธ์ทางสังคม” ในไทย
ผู้ว่าแบงก์ชาติชี้อนาคตโลกซับซ้อน-เทคโนโลยี่พัฒนารวดเร็ว เร่งสร้างทักษะคนรู้เท่าทัน เน้นBig Data ดำเนินนโยบายบนข้อมูลเชิงลึก
ภายใต้ระบบเศรษฐกิจที่เป็นอยู่ การกระจุกตัวของความมั่งคั่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ระบบทุนนิยมสมัยใหม่เกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อ 250 ปีมาแล้ว ความคิดที่ได้รับการยอมรับทั่วไปก็คือ เศรษฐกิจเสรีและ“มือที่มองไม่เห็น” เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดการแข่งขันและสร้างประโยชน์แก่สังคม ทำให้คนทุกคนได้ส่วนแบ่งและมีมาตรฐานชีวิตที่ดีขึ้น เหมือนกับคำพูดที่ว่า “การเติบโตทางเศรษฐกิจคือคลื่นที่จะยกเรือทั้งหมดให้สูงขึ้น”
จากที่ผู้เขียนร่ำเรียนเศรษฐศาสตร์มา 9 ปี และใช้ชีวิตมาจะครบ 30 ปีแล้ว พบว่าแม้หลายอย่างในตำราจะไม่ค่อยมีประโยชน์โดยตรงนักในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นเพราะมัน “obvious” (ชัดเจน) อยู่แล้ว หรือมันซับซ้อนเกินไป แต่สิ่งที่มีประโยชน์ต่อชีวิตจริงมักจะโผล่เข้ามาอย่างเป็นประจำ คอยย้ำอยู่นั่น มันทำให้เราคิดว่า “อืม…เป็นอย่างนั้นจริงๆ อีกแล้วแฮะ”