Digital technology กับการยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกรไทย

Digital technology กับการยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกรไทย ถามว่าเราร่วมมือกันมากพอแล้วหรือยัง? การจะพัฒนา digital technology ที่เหมาะสมกับเกษตรกร และนำไปให้เกษตรกรใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย จำเป็นต้องมีความร่วมมือระหว่างทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน นักวิชาการ จนถึงตัวเกษตรกรเอง ซึ่งเรายังไม่ค่อยเห็นมากนักในประเทศไทย

Boonlarp Poosuwan

17 ตุลาคม 2019

PwC เตือนปี’63 หุ้นกู้ด้อยสิทธิคล้ายทุนถูกจัดประเภทใหม่เป็นหนี้สิน สะเทือนสถานะทางการเงินบจ.แน่ ระบุ 8 แห่งกู้เกือบ 8 หมื่นล้าน

PwC เตือนปี’63 หุ้นกู้ด้อยสิทธิคล้ายทุนถูกจัดประเภทใหม่เป็นหนี้สิน สะเทือนสถานะทางการเงินบจ.แน่ ระบุ 8 แห่งกู้เกือบ 8 หมื่นล้าน

Boonlarp Poosuwan

17 ตุลาคม 2019

สามนักเศรษฐศาสตร์เอ็มไอที-ฮาร์วาร์ด คว้ารางวัลโนเบลจากงานวิจัยลดความยากจน หลังลงพื้นที่ทำโครงการจริง

รางวัลโนเบลในปีนี้เกี่ยวข้องกับการบรรเทาความยากจน ซึ่งคณะกรรมการได้พิจารณาตัดสินมองรางวัลให้กับงานวิจัยเชิงทดลองที่ช่วยลดความยากจนทั่วโลกให้กับ ศาตราจารย์ อภิจิต บาเนอร์จี กับ ศาสตราจารย์เอสเธอร์ ดูโฟล จากสถาบันเอ็มไอที และศาสตราจารย์ไมเคิล เครมเมอร์ จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด

chiraprapa

16 ตุลาคม 2019

19 วันยอดใช้จ่าย “ชิมช้อปใช้” G-Wallet 1 ทะลุ 8,500 ล้านบาท G-Wallet 2 แค่ 113 ล้าน กางข้อมูลใช้ที่ไหนกันบ้าง

19 วันยอดใช้จ่าย “ชิม ช้อป ใช้” ทะลุ 8,500 ล้านบาท เติมเงินเพิ่มแค่ 113 ล้าน – 1 ใน 4 กระจุกตัว “กทม.-ปริมณฑล”

admins

16 ตุลาคม 2019

นายกฯ ป้อง “บิ๊กแดง”บรรยายพิเศษ แค่ปลูกฝังรักชาติ– มติ ครม.เห็นชอบประกันรายได้สวนยาง เฟสแรกใช้งบ 24,000 ล้าน

นายกฯ ป้อง “บิ๊กแดง”บรรยายพิเศษ แค่ปลูกฝังรักชาติ– มติ ครม.เห็นชอบประกันรายได้สวนยาง เฟสแรกใช้งบ 24,000 ล้าน

Kornkanok

15 ตุลาคม 2019

เจาะข้อมูลผู้ถือหุ้น 3.3 ล้านรายการ นักวิจัยชี้ ภาคธุรกิจไทยกระจุกตัวสูง แนะเพิ่มการแข่งขัน

การกระจุกตัวในมิติของความเป็นเจ้าของที่สูงมีนัยต่อความเหลื่อมล้ำของความมั่งคั่งและรายได้ของครัวเรือน แต่เนื่องจากความเหลื่อมล้ำในมิตินี้เกิดจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าของสินทรัพย์ที่ยังไม่ได้แจกจ่ายให้ครัวเรือน การลดความเหลื่อมล้ำในมิตินี้จึงต้องเป็นการลดความเหลื่อมล้ำในภาคธุรกิจ ซึ่งไม่สามารถทำได้โดยนโยบายภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหรือเงินช่วยเหลือที่ให้แก่ครัวเรือน

Boonlarp Poosuwan

15 ตุลาคม 2019

เศรษฐกิจยุคDematerialization โลกยุคใหม่ที่ใช้ทรัพยากรน้อยลง

การเข้ามาของ Dematerialization นี้ก็เป็นอีกหนึ่งในปัจจัยที่ทำให้เศรษฐกิจโลกชะลอตัวลงจากการใช้ทรัพยากรน้อยลง มีการผลิตของน้อยลงและการจ้างงานลดลง ปัจจัยทั้งหมดข้างต้นที่กล่าวถึงนั้นเป็นสิ่งที่เคยเกิดขึ้นมาก่อนแล้วในหลายยุคสมัย และเราก็ยังมองว่ายังคงมีอยู่ในปัจจุบันและในอนาคตต่อไป

Boonlarp Poosuwan

15 ตุลาคม 2019

“ทาดาชิ ยานาอิ” ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ญี่ปุ่นกับกลยุทธ์ความสำเร็จของ “ร้านยูนิโคล่ (UNIQLO)”

เมื่อสิบปีที่แล้ว คำว่า “ยูนิโคล่” แทบไม่มีใครรู้จัก ยกเว้นคนญี่ปุ่น แต่ปัจจุบัน เมื่อพูดถึงยูนิโคล่ คนจะรู้สึกได้ว่า หมายถึงเสื้อผ้าที่มีคุณภาพ ในราคาที่คนทั่วไปซื้อได้ ภาพลักษณ์ดังกล่าวสะท้อนความสำเร็จของยูนิโคล่ ที่สามารถเติบโตอย่างรวดเร็ว จนกลายเป็นยักษ์ใหญ่เสื้อผ้าแบรนด์เนมของโลก เหมือนกับ ZARA, Forever 21 หรือ H&M

Boonlarp Poosuwan

15 ตุลาคม 2019

เอเชียศูนย์กลางฟรีแลนซ์ คนหลายอาชีพหลากวัยไหลเข้า “Gig Economy”

เอเชียยังครองตำแหน่งผู้นำตลาดการทำงานแบบฟรีแลนซ์ โดยปากีสถาน ฟิลิปปินส์ อินเดียและบังคลาเทศ ติดอยู่ใน 10 อันดับแรก รวมกันแล้วมีรายได้เพิ่มขึ้น 138% จากงวดเดียวกันของปีก่อน ซึ่งปัจจัยหลักที่ทำให้ Gig Economy ของทั้ง 4 ประเทศขยายตัวคือ การลงทุนในการศึกษาระดับอาชีว

chiraprapa

14 ตุลาคม 2019

ทำไมต้อง gluten-free

ในช่วง 20 ปีหลังที่ผู้คนทั่วโลกให้ความสนใจกับเรื่องสุขภาพมากยิ่งขึ้น โรคแพ้ gluten จึงพลอยได้รับความสนใจไปด้วยเพราะปัญหานี้เป็นที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้นจนเกิดกระแส gluten-free ขึ้นในโลก

Boonlarp Poosuwan

14 ตุลาคม 2019
1 788 789 790 791 792 1,451