DIB TALK ครั้งที่ 2 สองตัวอย่างเล็กๆกับความยั่งยืน “บ้านต้นคิดทิพย์ธรรม” ต้นแบบบ้านลดคาร์บอนในเมือง – “ชุมชนกับป่า” อยู่ร่วม ไม่เบียดเบียน

เมื่อวันอาทิตย์ ที่ 24 พฤษภาคม 2558 ณ ห้อง ดร.ถาวร พรประภา ออดิธอเรียม ชั้น 5 ตึกสยามกลการ ป่าสาละ จัดงานเสวนา DIB TALK (Do It Better Talk) ครั้งที่ 2 เพื่อกระตุ้นการแลกเปลี่ยนความคิดในประเด็นความยั่งยืน โดยมีบุคคลหลากหลายอาชีพที่ลงมือเปลี่ยนโลกให้ยั่งยืนด้วยวิถีของพวกเขาเองร่วมแลกเปลี่ยน ในหัวข้อ “ในฐานะคนตัวเล็กๆ เราจะทำอะไรดีๆ ให้โลกได้บ้าง” ในตอนนี้ไทยพับลิก้าขอนำเสนอแนวคิดในการอยู่ร่วมกันระหว่างคนและธรรมชาติ ของ ดร. เดชรัต สุขกำเนิด อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์ นักเศรษฐศาสตร์และเจ้าของบ้าน “ยั่งยืน” และพ่อหลวงพรมมินทร์ พวงมาลาผู้นำชุมชน บ้านแม่กำปอง จ. เชียงใหม่

สังคมไทยไร้แร่ใยหิน (ตอนที่ 17) : คคส. เดินหน้าขับเคลื่อน“แบนแร่ใยหิน”ต่อ

เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (คคส.) ขับเคลื่อน “แบนแร่ใยหิน” หลังการทำงานยืดเยื้อมานานตั้งแต่ ครม. มีมติปี 2554

ปีศาจพนันได้น้ำบำรุงกำลัง

งานศึกษาเรื่องการพนันของไทยหลายชิ้นในรอบ 10 ปีที่ผ่านมาพบว่าคนไทยส่วนใหญ่เล่นหวยใต้ดิน (กว่า 24 ล้านคน) รองลงมาคือสลากกินแบ่งรัฐบาล (22 ล้านคน) หวยออมสิน (8 ล้านคน) การพนันในบ่อน หวย ธ.ก.ส. หวยหุ้น (แทงเลขท้ายของดัชนีตลาดหลักทรัพย์) การพนันฟุตบอล กีฬาพื้นบ้าน (ชนวัว ชนไก่) ปลากัด มวย มวยตู้ จับยี่กี หวยปิงปอง ม้าแข่ง การพนันอินเทอร์เน็ต ฯลฯ

มกอช. เผย ปัญหาสารเคมีเกษตรไม่กระทบส่งออก กางผลสำรวจย้อน 3 ปี เทียบ Thai-PAN สารตกค้างลดลง

มกอช.เปิดผลตรวจผักย้อนหลัง 3 ปี เทียบThai-PAN พบการตกค้างลดลงเช่นเดียวกัน การแจ้งเตือนจาก EU ไม่กระทบตลาดส่งออกหลัก ส้ม พริกแห้ง ลำไย และข้าว ตลาดยังเติบโตดี ยันรัฐไม่นิ่งนอนใจ สร้างเครือข่ายทั่วประเทศเฝ้าระวังการสารเคมีเกษตรตกค้างเกินมาตรฐาน

เปิดผลตรวจ 10 ผักยอดนิยมของคนไทย พบ “กะเพรา” มีสารเคมีตกค้างมากสุด เตรียมใช้ กม.ผู้บริโภค เอาผิดผู้ประกอบการ

Thai-PAN แถลงผลตรวจผัก ปี 2558 เฉลี่ยสารพิษตกค้างเกินมาตรฐานลดลง พบ 3 อันดับ ผักที่มีสารพิษตกค้างสูงสุด คือ คะน้า กระเพรา พริกแดง แปลกใจกระหล่ำปลี ไม่พบสารพิษตกค้างเกินมาตรฐาน เอาจริง ฟ้อง สคบ. ผักดอกเตอร์ ฐานไม่ปลอดภัยตามกล่าวอ้าง เผยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ผลักดันยกเลิกการใช้สารเคมีตั้งแต่ “ต้นน้ำ” ลดปริมาณสารตกค้างได้จริง

“HITAP”ส่งหนังสือถึง”ไทยพับลิก้า”ยอมรับมีการทำสัญญาระหว่าง”สปสช. กับ HITAP”จริง

“HITAP”ส่งหนังสือถึง”ไทยพับลิก้า”ยอมรับมีการทำสัญญาระหว่าง”สปสช.กับHITAP”จริง – ยัน “นพ.ณรงค์ศักดิ์ อังคสุวะพลา”ไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อนแม้นั่ง 2 เก้าอี้

บอร์ดสปสช.ใช้เงินเหมาจ่ายรายหัวของประชาชนผิดประเภท ผลประโยชน์ทับซ้อน สวมหมวกหลายใบ

บอร์ดสปสช.ผลประโยชน์ทับซ้อน สวมหมวกหลายใบ “นพ.วิชัย -นพ.ณรงค์ศักดิ์-นิมิตร์-สุนทรี” รับเงินจากสปสช. เข้าข่ายผิดพ.ร.บ.กองทุนหลักประกัน-ผิดกฏหมายป.ป.ช.มาตรา100 เงินเหมาจ่ายรายหัวของประชาชนถูกนำไปใช้ผิดวัตถุประสงค์

UddC จัดผัง “กรุงเทพฯ เมืองเดินได้ เมืองเดินดี” เปลี่ยนพฤติกรรมเชื่อม “ชุมชน-สุขภาวะ-เศรษฐกิจ-วัฒนธรรม” สู่สังคมยั่งยืน

ศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมืองหรือ UddC ก่อตั้งขึ้นในปี 2555 ภายใต้ความร่วมมือของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ภาควิชาผังเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยทำงานด้านการพัฒนาเมือง เพื่อการสร้างหรือฟื้นฟูเมืองให้ดีอย่างเป็นรูปธรรม

UddC เสนอผัง “กรุงเทพฯ เมืองเดินได้ เมืองเดินดี” เปลี่ยนพฤติกรรมเชื่อม “ชุมชน-สุขภาวะ-เศรษฐกิจ-วัฒนธรรม” สู่สังคมยั่งยืน

“กรุงเทพฯ เมืองเดินได้ เมืองเดินดี” โครงการของศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมืองหรือ UddC ที่บูรณาการยุทธศาสตร์ด้านผังเมืองเชื่อมโยงกับพฤติกรรมการเดินในชีวิตประจำวันของคน โดยการออกแบบพื้นที่และสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้กรุงเทพฯ เป็นเมืองอยู่อาศัยที่ดีและมีคุณภาพ พบย่านสยาม-ปทุมวัน มีศักยภาพการเดินสูงที่สุด

สังคมไทยไร้แร่ใยหิน (ตอนที่ 8) : อันตรายจากแร่ใยหิน ปัญหาใกล้ตัวในสังคมไทย

คคส. ร่วมกับ Movies Matter จัดเทศกาลหนังเพื่อสุขภาพเกี่ยวกับโรคที่เกิดจากแร่ใยหิน อันตรายใกล้ตัวที่คนไทยหลายคนยังไม่รู้

สังคมไทยไร้แร่ใยหิน (ตอนที่ 7): ข้อโต้แย้ง “ไครโซไทล์” ใช้อย่างปลอดภัยได้ ทำไมต้อง “แบน”

ศูนย์ข้อมูลไครโซไทล์ย้ำแร่ใยหินมีความปลอดภัยในกระบวนการผลิต และไม่ฟุ้งกระจายหากผสมอยู่กับซีเมนต์แม้จะแตกหัก พร้อมบอกรับได้หากสารทดแทนมีราคาและคุณภาพเทียบเท่า แต่อยากให้กลไกการตลาดเป็นตัวเลือกให้แร่ใยหินอยู่หรือไปไม่ใช่ให้รัฐบาลมาควบคุม

“ณรงค์ สหเมธาพัฒน์” ปลัดกระทรวงสาธารณสุข แจงสภาพข้อเท็จจริงระบบสุขภาพของไทย

การกำหนดนโยบายสุขภาพเป็นบทบาทสำคัญของกระทรวงสาธารณสุขในฐานะหน่วยงานหลักในการดูแลสุขภาพ แต่ในทางปฏิบัติ มีกระทรวงอื่นๆ ที่มีบทบาทในบางส่วนในการจัดบริการสุขภาพหรือการผลิตบุคลากรทางการแพทย์ และการเกิดขึ้นของหน่วยงานต่างๆ ตามกฎหมาย เช่น สปสช., สสส., สวรส., สช., สพฉ., สรพ. ซึ่งเป็นผู้เล่นสำคัญในระบบสุขภาพ แต่การดำเนินการไม่มีกลไกที่มีเอกภาพในการกำหนดและขับเคลื่อนนโยบาย ทำให้เกิดปัญหาในการบริหารงานเพื่อขับเคลื่อนนโยบายตลอดมา จำเป็นต้องสร้างกลไกอภิบาลระบบที่เป็นระบบคุณธรรม ไม่ยินยอมให้มีการทุจริตและการแทรกแซงจากอำนาจที่ไม่ถูกต้องชอบธรรม โดยมีกลไกการเฝ้าระวัง ตรวจสอบถ่วงดุลในรูปประชาคมสาธารณสุขที่เข้มแข็ง

1 9 10 11 12 13