ภาคเกษตรไทย อยู่ตรงไหนในสมการแก้วิกฤติโควิด-19

หากเราไม่คำนึงถึงความสูญเสียของระบบเศรษฐกิจและไม่ได้ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบอย่างทั่วถึง ปัญหาปากท้องของคนเพียงบางกลุ่มก็อาจลุกลามมาทำให้การระบาดไม่จบสิ้น ดังนั้นกุญแจสำคัญของการแก้วิกฤติครั้งนี้จึงอยู่ที่ความร่วมมือของทุกๆคน การ ‘fine tune’ ของหลักสาธารณสุขและเศรษฐศาสตร์ และมาตราการทางเศรษฐกิจที่ทั่วถึง

Boonlarp Poosuwan

15 เมษายน 2020

“ร่วมทุกข์ ร่วมสุข” โมเดล

“ร่วมทุกข์ ร่วมสุข” โมเดล ผมเชื่อว่า โมเดลในการประคับประคองสถานการณ์ที่เน้นพึ่งพาแต่ทรัพยากรจากรัฐบาลเพียงฝ่ายเดียวอาจทำให้พวกเราทุกคนไม่สามารถรอดพ้นไปจากวิกฤตินี้ไปพร้อมกันได้

chiraprapa

15 เมษายน 2020

COVID-19 : บททดสอบความพร้อมสู่โลกการทำงานอนาคต

COVID-19 ท้อนโลกอนาคตของคนทำงานที่จะต้องพึ่งพิงเทคโนโลยีมากขึ้น งานนอกระบบที่จะทวีความสำคัญมากขึ้น และความเหลื่อมล้ำที่เพิ่มสูงขึ้น แรงงานจึงต้องปรับตัวขนานใหญ่ สังคมจำเป็นต้องออกแบบระบบการคุ้มครองแรงงานนอกระบบกลุ่มใหม่ และหาวิธีจัดแบ่งผลประโยชน์ระหว่างชนชั้น เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในสังคมและคงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

chiraprapa

15 เมษายน 2020

มองสถานการณ์ COVID-19 จากมุม Microeconometrics

ประเทศไทยแม้ทรัพยากรของภาครัฐจะมีจำกัด แต่น้ำใจและพลังของคนไทยมีไม่จำกัด หากเรานำพลังน้ำใจมาผนวกกับความสามารถของเอกชนโดยใช้เทคโนโลยี ก็น่าจะช่วยดึงทรัพยากรที่ยังมีอยู่มาใช้ได้ การจัดการที่ดีจะเป็นหัวใจสำคัญในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่ในภาคต่างๆ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงที่สุด

chiraprapa

15 เมษายน 2020

รับมือโควิด-19: ยุทธศาสตร์ผสมผสานสาธารณสุขและเศรษฐศาสตร์

รับมือโควิด-19: ยุทธศาสตร์ผสมผสานสาธารณสุขและเศรษฐศาสตร์ โดยวิเคราะห์ระดับเศรษฐศาสตร์จุลภาคหรือเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม ที่ดูต้นทุนและแรงจูงใจในการปรับตัว ควรมีการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลแบบ big data ที่มีลักษณะ real time อันจะนำไปสู่มาตรการช่วยเหลือเขาเหล่านั้นได้อย่างตรงจุดที่สุด

chiraprapa

15 เมษายน 2020

ทำไมธนาคารกลางจึงต้องให้ความช่วยเหลือตลาดการเงิน

ในภาวะฉุกเฉินเช่นนี้ การสร้างเชื่อมั่นให้กับระบบต้องมาก่อน เพื่อรักษาระบบการเงินไว้ ก่อนจะส่งผลกระทบรุนแรงต่อเศรษฐกิจที่แท้จริง ด้วยโครงสร้างของระบบการเงินและรูปแบบของปัญหาที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้ธนาคารกลางต้องยื่นมือให้ไกลกว่าเดิม ต้องใช้เครื่องมือใหม่ๆ เพื่อเตรียมความพร้อมและสร้างความมั่นใจกับทุกฝ่ายว่า ‘เอาอยู่’

Boonlarp Poosuwan

15 เมษายน 2020

โอกาสทางสิ่งแวดล้อมจากสถานการณ์ระบาดของ COVID-19

การเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ทางสังคมและเศรษฐกิจจากการระบาดของ COVID-19 สร้างทั้งบทเรียนและโอกาสที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนผ่านสู่การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่มีความยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง

chiraprapa

15 เมษายน 2020

COVID-19: การต่อสู้ในระบบสุขภาพ

COVID-19 การต่อสู้ในระบบสุขภาพ – ในภาวะที่ยังไม่มีวัคซีนและยารักษาโรคที่มีประสิทธิผล การจัดการกับการระบาดใหญ่จึงเป็นการหาสมดุลระหว่างการแก้ปัญหาทางสุขภาพกับปัญหาทางเศรษฐกิจ ทั้งในระยะสั้น กลาง และยาว จนกว่าปัญหาจะบรรเทาลง

chiraprapa

15 เมษายน 2020

COVID-19 เมื่อการล้อมรั้วระบบการเงินเป็นเรื่องจำเป็น และไม่ได้เป็นการช่วยแค่คนรวย

การป้องกันไม่ให้ผลกระทบจาก COVID-19 ลุกลามกลายเป็นวิกฤติในภาคการเงินจึงเป็นความจำเป็นอย่างยิ่งยวด เพื่อรักษา ‘ระบบ’ เศรษฐกิจและการเงินให้คงอยู่ได้ มิใช่การที่จะปกป้องอุ้มชูคนรวยบางกลุ่ม เพราะหากไม่ตัดไฟเสียแต่ต้นลม ปล่อยให้ลุกลามเป็นวงกว้างแล้ว ผลกระทบหนักจะตกอยู่กับคนที่มีทางเลือกน้อยและมีความเปราะบางทางการเงินมากกว่าด้วยซ้ำ

chiraprapa

15 เมษายน 2020

วิกฤติ COVID-19 ในมุมมองเศรษฐศาสตร์มหภาค

การฟื้นฟูเศรษฐกิจให้กลับมาเป็นปรกติหลังสถานการณ์จบลงไม่ใช่เรื่องยาก ที่สำคัญมากกว่าในระยะยาว คือ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สอดรับกับบริบทเศรษฐกิจโลกหลัง COVID-19 รวมถึงการ re-build พื้นที่ทางการคลังและการเงินที่ถูกใช้ไป เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนในอนาคต

chiraprapa

15 เมษายน 2020

ธุรกิจติดโควิด: เร่งเยียวยา ลดการแพร่เชื้อ

การหลุดพ้นจากวิกฤติการระบาดของเชื้อโควิด-19 บทบาทของภาครัฐต้องช่วยเหลือ “ให้ยา” แก่ธุรกิจที่ได้รับผลกระทบ เพื่อให้ธุรกิจที่ “ติดเชื้อ” เหล่านี้ไม่ “แพร่เชื้อ” ต่อไปในระบบเศรษฐกิจจึงเป็นสิ่งจำเป็นและเร่งด่วน

Boonlarp Poosuwan

15 เมษายน 2020
1 729 730 731 732 733 1,455