ข้อสังเกตในเรื่องระบบไต่สวน ระบบกล่าวหากับภาระการพิสูจน์และอำนาจศาลในการแสวงหาข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานในคดีน้องหมิว

วงการนักกฎหมายก็กำลังถกเถียงกันในเรื่องนี้อย่างกว้างขวาง บางท่านก็มีความเห็นว่า ศาลน่าจะใช้อำนาจของศาลในระบบไต่สวนซึ่งมีอยู่ในพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551 ตามที่คดีความรับผิดทางละเมิดของแพทย์เป็นคดีผู้บริโภค เรียกพยานหรือแพทย์ผู้เชี่ยวชาญมาให้การเพิ่มเติม หากเห็นว่าพยานที่โจทก์นำมาสืบยังไม่เพียงพอในเรื่องนี้ ถ้าจะตอบไปทันทีว่าใช่หรือไม่ใช่คงไม่ได้ เพราะเป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหลักกฎหมายและเงื่อนไขหลายเรื่อง ผมจึงขอถือโอกาสนี้ให้ความเห็นต่อเรื่องดังกล่าวโดยสรุป

Boonlarp Poosuwan

23 เมษายน 2016

ประเด็นฮอตรอบสัปดาห์ประจำวันที่ 17-23 เม.ย. 2559: “‘วิษณุ’ ชี้ สื่อสรุปเอง ‘ผสมข้อดี 4 รธน.’ ถ้าประชามติไม่ผ่าน” และ “โปรดเกล้าฯ แล้ว ขวางประชามติ ‘คุก 2 ปี ปรับ 4 หมื่น'”

ประเด็นฮอตรอบสัปดาห์ประจำวันที่ 17-23 เม.ย. 2559-“วิษณุ” ชี้ สื่อสรุปเอง “ผสมข้อดี 4 รธน.” ถ้าประชามติไม่ผ่าน-“คณะปูชนียบุคคล” จี้รัฐหยุดต่อใบอนุญาตเหมืองทอง-จีนส่อไม่เจราจาราคาข้าว คาดตอบโต้เปลี่ยนแผนรถไฟฯ-สารคดีนอกเตือน “อย่ามาเกาะเต่า”-โปรดเกล้าฯ แล้ว ขวางประชามติ “คุก 2 ปี ปรับ 4 หมื่น”

Natmaytee

23 เมษายน 2016

ศิษย์วัดธรรมกายเร่งคืนเงินสหกรณ์ฯคลองจั่นอีก 370 ล้านบาท รวม 2 ครั้งกว่า 1 พันล้านบาท ก่อน “พระธัมมชโย” รับทราบข้อกล่าวหารับของโจร 25 เม.ษ.นี้

กองทุนศิษย์วัดธรรมกายเร่งคืนเงินสหกรณ์ฯคลองจั่นอีก 370 ล้านบาท รวม 2 งวดกว่า 1 พันล้านบาท ก่อนรับทราบข้อกล่าวหารับของโจร 25 เม.ษ.นี้

Boonlarp Poosuwan

22 เมษายน 2016

เอสเอ็มอีแบงก์ขานรับ KPI ใหม่ คาดต้นปี 2560 ออกจากแผนฟื้นฟูกิจการได้

เอสเอ็มอีแบงก์ขานรับ KPI ใหม่ คาดต้นปี 2560 ออกจากแผนฟื้นฟูกิจการได้ เป้าหมายปี 2559 ลดเอ็นพีแอลเหลือไม่เกิน 18,000 ล้านบาท ปล่อยสินเชื่อใหม่ให้เอสเอ็มอี (SMEs) รายย่อย รายละไม่เกิน 15 ล้านบาท วงเงินไม่ต่ำกว่า 35,000 ล้านบาท และเร่งดำเนินการตามความเห็นของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)

kamon

22 เมษายน 2016

แยกแยะ VS หลอมรวม จะเอาความดีหรือความเห็นแก่ตัวไปสู้กับคนโกงเขาดี

ถ้าเราไม่มี “หลักการร่วม” ไม่มีพื้นฐานความรู้ความเข้าใจที่สอดคล้องกัน ย่อมไม่สามารถกำหนดกลยุทธ์ กำหนดวิธีการ ที่จะมีประสิทธิภาพ ที่จะได้ผลได้เลย มันก็เหมือนกับแค่เฮโลยกทัพกันออกไปนอกกำแพง เสร็จแล้วก็ตะโกน “สู้โว้ย” เอามือไขว้หน้าอก (อย่าลืมเอาขวาทับซ้ายนะครับ) แล้วก็มองหน้ากันไปมา ต่างคนต่างงัดวิธีการต่างๆ ออกมาตามความเชื่อความเข้าใจของตนของกลุ่ม อย่างนี้จะไปสู้ชนะได้อย่างไร เราเลยได้แต่สู้ สู้ สู้ กันมาหลายปี โดยที่ศัตรูกลับแข็งแกร่ง เติบโตขึ้นทุกที

Boonlarp Poosuwan

22 เมษายน 2016

บทวิเคราะห์คำพิพากษาศาลฎีกาคดีทางการแพทย์น้องหมิว โดยอดีตตุลาการและปรมาจารย์กฎหมายมหาชน

การวิพากษ์คำพิพากษาศาลฎีกานั้นเป็นสิ่งที่ทำได้ และควรทำ เพื่อให้กระบวนการยุติธรรมเกิดการพัฒนาปรับปรุงและโปร่งใสมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่พัฒนาแล้ว การวิจารณ์คำพิพากษานั้นเป็นสิ่งที่ทำกันเป็นประจำและสืบหาด้วยว่าใครเป็นผู้พิพากษาคดีนั้นๆ สืบประวัติผู้พิพากษาคนนั้นอย่างละเอียดลออกันทีเดียว เพราะคำพิพากษานั้นสะท้อนทัศนะ ความคิด โลกทัศน์ของตุลาการผู้เขียนคำพิพากษาคดีนั้นๆ เป็นเรื่องดีที่สังคมจะได้เรียนรู้ที่จะวิพากษ์วิจารณ์คำพิพากษาด้วยหลักวิชาการอย่างตรงไปตรงมาด้วยความสุจริตใจ ไม่ใช่เรื่องการหมิ่นศาลแต่อย่างใด แต่ทำให้ศาลได้เรียนรู้และได้พัฒนามากขึ้นด้วย

Boonlarp Poosuwan

21 เมษายน 2016

คำวินิจฉัยของศาลฎีกา ในคดีที่ 12498/2558 “น้องหมิว” ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่

วิเคราะห์คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 12498/2558 ..คำถามจึงมีว่าหากศาลฎีกามีความสงสัยในคำเบิกความของนายแพทย์สมศักดิ์ โล่ห์เลขา นายกแพทยสภา เหตุใดศาลฎีกาจึงไม่ค้นหาความจริงตามหลักการของระบบไต่สวน ซึ่งกฎหมายบัญญัติให้อำนาจไว้ตามมาตรา 36 และ 37 โดยมาตรา 36 บัญญัติว่า “ศาลอาจขอให้ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญมาให้ความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาพิพากษาคดีได้ ฯลฯ ” ซึ่งหากศาลฎีกาดำเนินการตามมาตรา 36 ผลของคดีก็คงต่างจากที่ปรากฏ

Boonlarp Poosuwan

21 เมษายน 2016

อุตสาหกรรมการบิน (ไทย) ตอนที่ 3: กว่าจะได้เป็นนักบิน ต้นทุนหลักสูตรสูง ค่าเรียนแพงไม่ต่ำกว่า 2 ล้าน/คน

ความจริงการพัฒนากำลังคนและมาตรฐานด้านการบินของไทยไม่สอดคล้องกับขยายตัวของอุตสาหกรรมการบินในปัจจุบัน จึงเกิดปัญหาสืบเนื่องกันเป็น “วิกฤตอุตสาหกรรมการบิน” ทั้งการสอบตกซ้ำจากการประเมินของหน่วยงานสากล และปมยกเลิกเที่ยวบินของสายการบินนกแอร์ ที่ทำให้พบว่ากำลังคนในอุตสาหกรรมการบินของไทยมีไม่เพียงพอ

Kornkanok

21 เมษายน 2016

สกว. จับมือมั่นพัฒนาฯ รุกวิจัยเพื่อชนบทไทย เดินหน้าเวิร์กชอป 4 ภาค ปั้นนักวิจัยรุ่นใหม่ แก้โจทย์ความเหลื่อมล้ำ  

มูลนิธิมั่นพัฒนา และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือว่าด้วยการสนับสนุนการขับเคลื่อนและส่งเสริมการสร้างผลงานวิจัยเพื่อสร้างความยั่งยืนในพื้นที่ชนบทไทย ถือเป็นความก้าวหน้าอีกระดับในการขับเคลื่อนให้นักวิจัยรุ่นใหม่หันมาสนใจการทำงานวิจัยเชิงพื้นที่มากขึ้น โดยเชื่อว่าการผสานความรู้วิชาการและองค์ความรู้ในท้องถิ่นจะช่วยลดช่องว่างระหว่าง “คนมี” กับ “คนไม่มี” และเป็นการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย

admins

21 เมษายน 2016

ครม. ปรับโครงสร้างภาษีบุคคลธรรมดา ไฟเขียวรถไฟฟ้าสายสีส้ม ผ่านชุด กม.ดิจิทัล 3 ฉบับ – นายกฯ ลั่นน้องชายตั้งลูกเป็นทหารไม่ผิด

ครม. ปรับโครงสร้างภาษีบุคคลธรรมดา ไฟเขียวรถไฟฟ้าสายสีส้ม ผ่านชุด กม.ดิจิทัล 3 ฉบับ – นายกฯ ลั่นน้องชายตั้งลูกเป็นทหารไม่ผิด

root

20 เมษายน 2016

“ประยุทธ์”ปรับโครงสร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาแจกถ้วนหน้า แถมคนรายได้เกิน 4 ล้านลดภาษี 5%

“ประยุทธ์”ปรับโครงสร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาแจกถ้วนหน้า แถมคนรายได้เกิน 4 ล้านลดภาษี 5%

kamon

20 เมษายน 2016

ศาลพิพากษาอดีตผู้บริหาร ธอส. ทุจริตอนุมัติเงินกู้ จำคุก 4 ปี แต่รอการลงโทษ ปรับ 20,000 บาท – ไล่ออกจากงาน

ศาลพิพากษาอดีตผู้บริหาร ธอส. ทุจริตอนุมัติเงินกู้ จำคุก 4 ปี แต่รอการลงโทษ ปรับ 20,000 บาท – ไล่ออกจากงาน

Boonlarp Poosuwan

19 เมษายน 2016
1 1,103 1,104 1,105 1,106 1,107 1,455