โมเดลจัดการน้ำอย่างยั่งยืนของชุมชน
ไทยได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่ในน้ำมีปลาในนามีข้าว มีความอุดมสมบูรณ์มาช้านาน แต่ในระยะหลังประสบปัญหาทั้งน้ำแห้ง น้ำท่วม ทุกๆปีจะต้องประกาศให้หลายพื้นที่เป็นพื้นที่ภัยพิบัติซ้ำๆ แต่ไม่สามารถที่จะเยียวยาปัญหานี้ได้ ทั้งๆที่บรรพบุรุษต่างอยู่กับน้ำมาอย่างคุ้นชิน ซีรี่ส์นี้จะนำเสนอแนวทางการบริหารจัดการน้ำของชุมชนในโมเดลต่างๆ
23 ข่าวในประเด็นนี้
“ชุมชนเข้าใจตัวตน-ภูมิหลัง-รู้จักต้นทุนทรัพยากรที่มี” สูตรสำเร็จการบริหารจัดการน้ำ “บ้านโนนตูมถาวร” จ.ศรีษะเกษ เริ่มฟื้นบ่อน้ำเก่าให้มีชีวิต ช่วยรอดภัยแล้งพร้อมมุ่งสู่การจัดการน้ำครบวงจร ต่อยอดสู่ท่องเที่ยวชุมชน ชวนชมตำนานทุเรียนภูเขาไฟ
มูลนิธิปิดทองหลังพระ แนะ 4 ประสาน 3 ประโยชน์ แนวทางบรรเทาพิษโควิด-19 ในชนบทอย่างยั่งยืน
“ชุมชนป่าภูถ้ำ ภูกระแต อ.แวงน้อย จ.ขอนแก่น” ลุกขึ้นจัดการตน-รอดพ้นแล้ง สร้างความมั่นคงทางอาหาร สู้วิกฤติโควิดระบาด สู่ความสุขบนวิถีแห่งความพอเพียง
สำรวจข้อมูลภัยพิบัติเพิ่มเติมจากศูนย์อำนวยการบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย ย้อนหลังไป 30 ปีตั้งแต่ปี 2532-2561 ถึงการจัดการบริหารภัยพิบัติในแต่ละยุคสมัย โดยเฉพาะ “ภัยแล้ง” และ “น้ำท่วม”ซึ่งเป็นภัยพิบัติหลักที่ประสบกันทุกปี
เอสซีจี จับมือมูลนิธิอุทกพัฒน์ฯ – สสน. – สยามคูโบต้า หนุนชุมชนแก้ภัยแล้งด้วยตนเอง
น้ำในความหมายของเราคือ น้ำทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นน้ำฝน น้ำทะเล น้ำในชั้นหิน น้ำบาดาล น้ำที่ใช้แล้ว น้ำเสียที่ต้องบำบัด การวางนโยบายจึงต้องทำความเข้าใจวัฏจักรน้ำทั้งระบบ และจัดการให้สัมพันธ์กัน เพราะน้ำในชั้นหิน น้ำที่ซึมซับสู่พื้นดิน ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำฝน การใช้น้ำบาดาลต้องมีการวิเคราะห์แร่ธาตุและสารเคมีในดินด้วย หากนำน้ำใต้ดินมาใช้มากๆ ก็อาจส่งผลให้ความเค็มซึมเข้ามาจนเกิดผลกระทบตามมา หากเข้าใจวัฏจักรของน้ำทั้งระบบก็จะทำให้สามารถใช้น้ำได้อย่างถูกวิธีแลยั่งยืน
มูลนิธิสืบนาคะเสถียรยืนยันเจตนารมณ์คัดค้านการสร้างเขื่อนแม่วงก์ ขอให้พิจารณาทางเลือกในการจัดการน้ำแบบบูรณาการ กรณีไม่ต้องสร้างเขื่อนในอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ พร้อมทั้งมอบเอกสารสำคัญของป่าแม่วงก์และแนวทางการจัดการน้ำแบบบูรณาการ กล้าต้นสัก และแผนที่ให้กับสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ด้านนายศศิน เฉลิมลาภ ชี้เขื่อนแม่วงก์ไม่มีทางจบหากกรมชลประทานไม่ถอดเรื่องออก สผ.
การบริหารจัดการน้ำ “ชัยนาทโมเดล” 6 จังหวัด 2 ล้านไร่ นา 2 แสนแปลง ใช้เวลาทำฐานข้อมูล 10 ปี เพื่อให้”รู้คนใช้น้ำตัวจริง” สร้างวินัยเกษตรกร สร้างความเป็นธรรมในการใช้น้ำ แบ่งปันน้ำกันตามสัดส่วนของพื้นที่
สุเมธ ตันติเวชกุล เปิดสถานีสาสบหก “แทงก์น้ำของชุมชน” พลิกฟื้นผืนป่าด้วยวิถีธรรมชาติ ตัวอย่างการจัดการน้ำที่ยั่งยืน
กลุ่มลุ่มน้ำโขงทำจดหมายเปิดผนึกถึงคณะผู้พิพากษาศาลปกครองและหัวหน้ารักษาความสงบแห่งชาติ ขอให้ระงับหรือยกเลิกสัญญาซื้อขายไฟฟ้าจากเขื่อนพลังน้ำไซยะบุรี
มองเขื่อนแม่วงก์ ผ่านมุมเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม ความถูกต้องทางวิชาการเพื่อเป็นบรรทัดฐานในการประเมินมูลค่าโครงการภาครัฐ ที่ควรนำเสนออย่างเที่ยงตรงและสมเหตุสมผล
วิกฤติภัยแล้งปี2557 สาเหตุจากธรรมชาติหรือความผิดพลาดจากนโยบายป้องกันน้ำท่วมมากกว่าน้ำแล้ง หรือชาวนาดื้อปลูกข้าวนาปรัง