ความลึกลับของคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ

เหตุใดสื่อไทยจึงไม่รายงานคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ทั้งที่ถือว่ามี “ความเป็นข่าว” สูงมาก และมีกรณีเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องปีละหลายร้อยคดี? ปัณณ์ พาทิศ ชวนติดตามในรายงานพิเศษฉบับนี้

admins

12 กันยายน 2011

สัมภาษณ์สื่อน้องใหม่ ThaiPublica.org : “ไทยพับลิก้า กล้าพูดความจริง”

ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา จับเข่าคุยกับ บุญลาภ ภูสุวรรณ บรรณาธิการบริหาร และ สฤณี อาชวานันทกุล คณะบรรณาธิการ ถึงที่มา แนวคิด เนื้อหา และอนาคตของสำนักข่าวออนไลน์ไทยพับลิก้า

admins

11 กันยายน 2011

วาทกรรม “ยิ่งลักษณ์” วาระกรรมรัฐบาล คำเตือน “วิษณุ” วันไร้เงา “เนติบริกร”

คำเตือน จาก “วิษณุ เครืองาม” ในวันที่ไร้เงา “เนติบริกร”ของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ เจ้าของสมญา “เนติบริกร” ของ 7 ผู้นำ 10 รัฐบาล อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (ครม.) จึงเป็นเรื่องที่ควรแก่การได้ยิน-ได้ฟัง-ได้ทำตาม

Boonlarp Poosuwan

10 กันยายน 2011

“ดร. เติมชัย บุนนาค” ยอมรับเติม CO2 ในก๊าซเอ็นจีวีรถยนต์กัดกร่อนภาพลักษณ์ ปตท.

“ดร. เติมชัย บุนนาค” ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ เผยลำบากใจกับการเติม CO2 ในก๊าซเอ็นจีวีรถยนต์ ยอมรับกัดกร่อนภาพลักษณ์ ปตท. ชี้เป็นแค่มาตรการชั่วคราว พร้อมเร่งฝ่ายวิจัยพัฒนา “ECU” (Electronic Control Unit) ตัวกดปุ่มปรับค่าความร้อน หวังเลิกเติม CO2 ถาวร

Boonlarp Poosuwan

9 กันยายน 2011

อ่านค่านิยมผ่านรัฐธรรมนูญ

รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ ในเมื่อประเทศประกอบด้วยประชาชนหลายภาคส่วน เนื้อหาในรัฐธรรมนูญก็น่าจะสะท้อน “ค่านิยม” ที่คนในชาติเห็นพ้องต้องกันว่าเป็นคุณค่าที่สำคัญและควรค่าแก่การยกย่อง ปกป้องและส่งเสริม

admins

9 กันยายน 2011

ความเป็นจริงวันนี้

คงปฏิเสธไม่ได้ว่าตัวการสำคัญที่ทำให้โลกต้องเผชิญกับวิกฤตสิ่งแวดล้อมถึงขั้นสาหัสสากัณฑ์อยู่ทุกวันนี้ หนีไม่พ้นการบริโภคทรัพยากรทิ้งๆ ขว้างๆ ในอัตราและปริมาณมหาศาล ขับเคลื่อนโดยระบบเศรษฐกิจการตลาดที่ไม่คิดราคาต้นทุนที่แท้จริงของสิ่งแวดล้อม สองวิชาว่าด้วยศาสตร์แห่ง eco หรือ oikos– “บ้าน” ในรากภาษากรีก ได้แก่ economic เศรษฐศาสตร์ และ ecology นิเวศวิทยา แม้จะเป็นการศึกษาเกี่ยวกับบ้านหรือโลกใบนี้ของเราเหมือนกัน แต่ระบบเศรษฐกิจที่มนุษย์สร้างขึ้นทุกวันนี้กลับกลายเป็นระบบที่ไม่สอดคล้องกับระบบผลิตในวงจรธรรมชาติเลย

admins

9 กันยายน 2011

จากลอนดอนถึงกรุงเทพฯ

สภาพสังคมของอังกฤษหลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้น มีอะไรหลายอย่างละม้ายสภาพสังคมไทยในปัจจุบันไม่น้อย โดยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชนชั้น คนตะวันตกมักจะค่อนขอดคนอังกฤษอยู่เสมอว่า สังคมอังกฤษนั้นเป็นสังคมที่ ‘หมกมุ่น’ อยู่กับชนชั้น เรื่องนี้ถ้าย้อนกลับมาดูบ้านเรา ก็จะพบว่าไม่แตกต่างกันสักเท่าไหร่ นอกจากไม่แตกต่างกันแล้ว ดูเหมือนสังคมไทยจะหมกมุ่นกับเรื่องชนชั้นมากยิ่งกว่าด้วยซ้ำ แต่ในเวลาเดียวกัน เรามักบอกตัวเองและคนอื่นบ่อยๆว่า เราไม่ได้ให้ความสำคัญกับชนชั้นมากสักเท่าไหร่

admins

9 กันยายน 2011

8 ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับค่าจ้างและแรงงานไทย

เบื้องหลังงานเขียนชิ้นนี้พวกผมเห็นว่ามีการพูดคุยเกี่ยวกับนโยบายด้านแรงงานต่างๆ รวมถึงนโยบายค่าจ้างขั้นต่ำ 300 บาท แต่เป็นที่น่าสังเกตว่าการพูดคุยส่วนใหญ่จะใช้ความรู้สึก หรือเป็นความคิดเห็นที่ขาดการวิเคราะห์และอ้างอิงจากข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ทางเราจึงได้วิเคราะห์ข้อมูลจากรายงานการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร (Labour Force Survey) ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ณ ปี 2553 ซึ่งข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลเกี่ยวกับแรงงานไทยที่เป็นปัจจุบันและน่าเชื่อถือที่สุด เพื่อให้ผู้ที่สนใจเกี่ยวกับนโยบายด้านแรงงานมีข้อมูลประกอบการพูดคุย ถกเถียงและตัดสินใจ ไม่ว่าจะในวงสนทนาตามร้านกาแฟ การประชุม หรือเวทีสัมมนาต่างๆ ก็ตาม

admins

9 กันยายน 2011

Unrealized Loss: ขาดทุนแต่ไม่เสียหาย?

จากรายงานงบการเงินประจำปี 2553 ของธนาคารแห่งประเทศไทย ปรากฎว่างบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม นั้นธนาคารแห่งประเทศไทยมีผลการดำเนินการขาดทุนสุทธิ 1.17 แสนล้านบาท และทำให้ส่วนของทุนติดลบเป็นมูลค่าเท่ากับ 4.32 ล้านบาท ประเด็นมูลค่าของการขาดทุนนี้ได้ถูกหยิบยกขึ้นมาเป็นเหตุผลสนับสนุนการตั้งกองทุนมั่งคั่งแห่งชาติ

admins

8 กันยายน 2011

“ภาวิน ศิริประภานุกูล” ถอด 10 ปี กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ให้เงินแต่ไม่ให้อำนาจ

“ภาวิน ศิริประภานุกูล” ถอดโมเดลการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ชี้โครงสร้างไทยมีหลายชั้นเกินไป หน่วยงานซ้ำซ้อน จนชาวบ้านสับสนไม่เข้าใจและไม่เข้าถึงว่างานไหนเป็นของท้องถิ่นหรือส่วนกลาง ส่งผลขาดการมีส่วนร่วม แถมให้แต่เงินอุดหนุนแต่ไม่ให้อำนาจ เงินไปแต่คนไม่ไป ยิ่งกระจายอำนาจก็ยิ่งกระจุก

Boonlarp Poosuwan

7 กันยายน 2011

AD DICTATE & ADDICTED

พื้นที่ของคอลัมน์ AD DICTATE จะเป็นพื้นที่ของการเล่าสู่กันฟังในเรื่องของโฆษณา ที่ปัจจุบันมักจะเข้ามา ‘นำ’ การนำเสนอข่าวสารและเนื้อหาสาระอันเป็นแก่นแกนของสื่อนั้นๆ นอกจากนั้น ผู้เขียนก็ยังอยากให้ AD DICTATE เป็นพื้นที่ในการเชื้อเชิญให้ผู้อ่านได้หลบมุมมาหยุดอยู่นิ่งๆ และครุ่นคิดเกี่ยวกับโลกของโฆษณาที่เข้ามานำทางชีวิตแทบทุกลมหายใจจนทำให้เรา AD DICTED หลงเสพติดกับสินค้าและผลิตภัณฑ์ต่างๆ ชนิดที่ไม่ไล่ไม่เลิก ไม่กู่ก็ไม่กลับ บางทีกู่แล้วก็อย่าหวังว่าจะกลับ

Boonlarp Poosuwan

6 กันยายน 2011

ภาคการเงินปรับโฟกัสสู่ความยั่งยืน (จบ): แชร์ประสบการณ์ “กรีนเครดิต”

ธนาคารจีนรายหลักๆ เริ่มลดการปล่อยสินเชื่อให้กับอุตสาหกรรมที่บริโภคพลังงานมากและปล่อยมลพิษสูง ขณะเดียวกันก็หันมาเพิ่มสัดส่วนการลงทุนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและลดการปล่อยมลภาวะ อย่างกรณีของอินดัสเตรียล แบงก์ เป็นธนาคารจีนรายแรกที่ประกาศใช้หลักการสินเชื่อสีเขียว

Boonlarp Poosuwan

5 กันยายน 2011
1 1,442 1,443 1,444 1,445 1,446