ณัฐเมธี สัยเวช
81 ข่าวในคอลัมน์นี้
เพราะหัวใจว่างโหวงดุจท้องเปรตจึงเสพติด
มนุษย์ผู้เลื่อนหลุดจากสังคมก็ย่อมโดดเดี่ยวและเจ็บปวดฉันนั้น และความเจ็บปวดนี้นั้น แท้จริงแล้วไม่ได้มีผลแต่กับมนุษย์ผู้เลื่อนหลุดเพียงอย่างเดียว แต่คือส่งผลให้ทั้งสังคมไม่อาจเดินหน้าดำรงไปอย่างสมบูรณ์อีกด้วย การทำความเข้าใจผู้มีพฤติกรรมเสพติด แบบที่จะไม่ทอดทิ้งให้เขาหรือเธอต้องต่อสู้ตามลำพังอย่างโดดเดี่ยว แต่คือการที่ทั้งสังคมต้องเดินหน้าไปด้วยกันอย่างไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง
ปรับทัศนคติเพื่อการแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน (ตอนที่ 1)
การที่เราไม่เคยสนับสนุนอย่างจริงจังให้มีการศึกษาถึงผลร้ายของยาเสพติด และผลกระทบที่จะมีต่อสังคมอย่างแท้จริง เราเอาแต่อยู่กับจินตนาการตามภาพข่าวว่าคนที่เสพยาบ้าแล้วต้องคุ้มคลั่งออกไปปีนเสาไฟ ปีนหลังคา เป็นบ้า จับคนอื่นหรือกระทั่งตนเองเป็นตัวประกัน แต่เราไม่เคยตั้งคำถามว่า การจะเสพยาบ้าแล้วเป็นไปถึงขั้นนั้นนี่ต้องเสพขนาดไหน มีปัจจัยอะไรร่วมบ้าง เราไม่ถาม แถมยังเชื่อทันทีว่า ถ้าเสพยาบ้าแล้วต้องเป็นอย่างนั้น
สถานการณ์เมทแอมเฟตามีน (ยาบ้า) ทั่วโลกจาก “รายงานยาเสพติดโลก 2019”
สถานการณ์เมทแอมเฟตามีน (ยาบ้า) ทั่วโลกจาก “รายงานยาเสพติดโลก 2019”
Live Prison Tourism: ท่องเที่ยวเชิงสว่างสร้างแรงบันดาลใจ กระทบไหล่ผู้ต้องขัง ณ เรือนจำชั่วคราวเขาระกำ
live prison tourism การท่องเที่ยวเยี่ยมชมคุกที่ยังเปิดทำการอยู่ และเป็น inspired light tourism การท่องเที่ยวเชิงสว่างสร้างกำลังใจด้วย ประวัติศาสตร์อันโหดร้ายจะสร้างแรงบันดาลใจให้เราไม่สร้างความโหดร้ายแบบนั้นขึ้นมาอีก
Learn – Unlearn – Relearn – ผู้ต้องขัง: เด็กน้อยในอ้อมอกมารดาที่ชื่อว่าเรือนจำ (ตอนที่ 3) – ชาญ วชิรเดช พลิกกระบวนทรรศน์โจทย์ภารกิจคืนคน “ดี” กลับสู่สังคม
Learn – Unlearn – Relearn – ผู้ต้องขัง: เด็กน้อยในอ้อมอกมารดาที่ชื่อว่าเรือนจำ (ตอนที่ 3) – ชาญ วชิรเดช พลิกกระบวนทรรศน์โจทย์ภารกิจคืนคน “ดี” กลับสู่สังคม
Learn-Unlearn-Relearn ผู้ต้องขัง: เด็กน้อยในอ้อมอกมารดาที่ชื่อว่าเรือนจำ (ตอนที่ 2) – บ้านกึ่งวิถี ศูนย์ชุมชนเข้มแข็งบ้านท้ายโขด
Learn-Unlearn-Relearn – ผู้ต้องขัง: เด็กน้อยในอ้อมอกมารดาที่ชื่อว่าเรือนจำ (ตอนที่ 2) – บ้านกึ่งวิถี ศูนย์ชุมชนเข้มแข็งบ้านท้ายโขด
Learn-Unlearn-Relearn – ผู้ต้องขัง: เด็กน้อยในอ้อมอกมารดาที่ชื่อว่าเรือนจำ (ตอนที่ 1)
Learn-Unlearn-Relearn – ผู้ต้องขัง: เด็กน้อยในอ้อมอกมารดาที่ชื่อว่าเรือนจำ (ตอนที่ 1)
เรือนจำเปลี่ยนชีวิต
เรือนจำเปลี่ยนชีวิต…เรือนจำกลางระยอง และเรือนจำชั่วคราวเขาไม้แก้ว ตัวอย่างที่ดีของการพยายามสร้างสมดุล สร้างคนดีคืนสังคม
ผู้ต้องขังนักผจญเพลิง ชั่วโมงละ 1 ดอลลาร์ – ลดวันรับโทษ – “โอกาส” หรือ “แรงงานทาสรูปแบบใหม่”
ผู้ต้องขังนักผจญเพลิง ชั่วโมงละ 1 ดอลลาร์ – ลดวันรับโทษ – “โอกาส” หรือ “แรงงานทาสรูปแบบใหม่”
IDPC เสนอแนวนโยบายสำหรับประเทศไทยเพื่อส่งเสริมการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงอย่างมีมนุษยธรรม
IDPC เสนอแนวนโยบายสำหรับประเทศไทยเพื่อส่งเสริมการปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงอย่างมีมนุษยธรรม
Angola Prison Rodeo: ห้วงขณะแห่งความเป็นมนุษย์ในอัลคาทราซแดนใต้ และ gamification กับการปรับพฤติกรรมผู้ต้องขัง
ทุกๆ ปี ในสุดสัปดาห์หนึ่งของเดือนเมษายน และในทุกวันอาทิตย์ของเดือนตุลาคม สนามกีฬาขนาดหมื่นคนในแองโกลาจะกลายเป็นสนามประลองในศึกขี่พยศคุกแองโกลา (Angola Prison Rodeo) ซึ่งเป็นเทศกาลประจำปีที่เปิดให้ผู้คนภายนอกซื้อตั๋วเข้าไปชมโรดีโอ (rodeo) ก็คือการแข่งขันขี่วัวหรือม้าพยศ ซึ่งไม่ได้มีแค่การขี่หลังให้รอดนานที่สุดอย่างเดียว แต่ยังมีสุดยอดของศึกที่เป็นการให้ผู้ต้องขังชิงเอาชิปสำหรับเล่นไพ่โปกเกอร์ซึ่งผูกไว้ที่หัววัวกระทิงคลั่งมาให้ได้ จากนั้นให้ผู้ต้องสี่คนนั่งเล่นโปกเกอร์กันในสนามประลอง และใครที่ยังนั่งอยู่ได้หลังจากโดนวัวกระทิงไล่ขวิดซ้ำแล้วซ้ำเล่าคือผู้ชนะ
การเคลื่อนหลุดทางสังคม (Social Dislocation) : ทัศนะของบรูซ อเล็กซานเดอร์ ถึงสาเหตุที่แท้จริงของการเสพติด
ภาวะการเคลื่อนหลุดทางสังคมที่ว่านี้มิได้เกิดแต่เฉพาะในหมู่คนยากจนแต่อย่างใด หากแต่สามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกชนชั้นในสังคม และมุมมองของบรูซ อเล็กซานเดอร์ ที่มีต่อภาวะการเสพติดโดยไม่ได้มองเพียงเรื่องการกระทำส่วนบุคคลหรือฤทธิ์ของตัวยาแต่มองไปถึงอิทธิพลของสภาพแวดล้อมหรือกระทั่งโครงสร้างสังคมที่มีผลให้เกิดพฤติกรรมการเสพติดนั้นยังมีอีกมาก