บทเรียนจากมาบตาพุด
นานข้ามปีหลังคำตัดสินศาลปกครอง ยังไม่มีคำตอบสำหรับชาวมาบตาพุดและชาวระยองต่อการแก้ปัญหามลพิษ ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศน์และสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรม การแย่งชิงน้ำ รวมทั้งผังเมือง – ไทยพับลิก้าเชิญร่วมค้นหาบทเรียนจากมาบตาพุด
นานข้ามปีหลังคำตัดสินศาลปกครอง ยังไม่มีคำตอบสำหรับชาวมาบตาพุดและชาวระยองต่อการแก้ปัญหามลพิษ ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศน์และสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรม การแย่งชิงน้ำ รวมทั้งผังเมือง – ไทยพับลิก้าเชิญร่วมค้นหาบทเรียนจากมาบตาพุด
จาก “Love Canal” ในเมืองนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เรื่อยมาถึง “มินามาตะ” ประเทศญี่ปุ่น จนถึง “มาบตาพุด” เป็น “บทเรียน” สำคัญที่ยืนยันถึง “ภยันตราย” จากของเสียจากอุตสาหกรรม
“มาบตาพุด”ก็เช่นกัน !?!
“วีรพงศ์ ไชยเพิ่ม” ผู้ว่าฯ กนอ. “จำเลย-โจกท์ มาบตาพุด” กับโมเดล Eco Industrial Town
“ภารนี สวัสดิรักษ์” กับโจทย์ “มาบตาพุด” เมื่อผังเมืองเลยเถิดสำหรับการใช้ชีวิตของมนุษย์
บทเรียนจาก “มินามาตะ” สู่อนาคต “มาบตาพุด”
เปิดผังเมืองมาบตาพุดฉบับใหม่ พื้นที่อุตฯ ลดลง 28 ล้าน ตร.ม.เพิ่มพื้นที่สีเขียว-เกษตรกรรม
30 ปีโครงการอีสเทิร์นซีบอร์ด : ผลสำรวจ ” นิคมมาบตาพุด” สะสมมลพิษสาร “ก่อมะเร็ง”
“กนิษฐ์ พงษ์นาวิน” เสียงสะท้อนเจ้าบ้าน “มาบตาพุด” ความสุขที่หายไปพร้อมกับผู้มาเยือน
จังหวัดระยองมีโรงงานอุตสาหกรรมมากที่สุดในประเทศไทย แต่มาพร้อมกับมลพิษ โดยใน อ.เมือง มีโรงงานอุตสาหกรรมที่ปล่อยกากอุตสาหกรรมชนิดมีอันตรายจำนวน 24,896,662 กิโลกรัมต่อปี ขณะที่กากของเสียจากชุมชนใน อ.เมือง จ.ระยอง มีจำนวน 733,000 กิโลกรัมต่อปีเท่านั้น
30 ปีโครงการอีสเทิร์นซีบอร์ด ย้อนรอยเขตอุตสาหกรรมหนัก การเปลี่ยนไปของการใช้พื้นที่ “มาบตาพุด”
ย้อนรอย 30 ปี โครงการอีสเทิร์นซีบอร์ด การพัฒนาสู่การเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน?
“สมชาย หวังวัฒนาพาณิช” เอสซีจี เคมีคอลส์ 28 ปีผู้บุกเบิกกับก้าวแห่งฝัน “มาบตาพุด Eco Town”
“เจริญ ปาศร” ระบุผังเมืองใหม่มาบตาพุด ชาวบ้านต้องรออีก 2 ปี ลดพื้นที่อุตสาหกรรม 45% เป็นอุตสาหกรรมสีขาวแทน
62 รามอินทรา 5 แยก 3 แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220
โทร. 02-9706998 | อีเมล [email protected]