สุทธิ สุนทรานุรักษ์
17 ข่าวในคอลัมน์นี้
Corruption Perceptions Index 2020 ถอดบทเรียนจากติมอร์-เลสเต
Corruption Perceptions Index 2020 ถอดบทเรียนจากติมอร์-เลสเต จากหลักสี่ไปสู่หลักห้าได้หรือไม่…หรือจะร่วงกลับลงมาสู่ “หลักสาม” เหมือนกับอินโดนีเซีย
Stakeholder Capitalism การสร้างทุนนิยมที่ยั่งยืน
Professor Klaus Schwab ผู้ก่อตั้ง World Economic Forum (WEF) หนึ่งใน think tank สำคัญของโลก ได้ออกมาเสนอแนวคิดเรื่อง stakeholder capitalism โดยเขาและ Peter Vanham ได้ร่วมกันเขียนหนังสือชื่อ Stakeholder Capitalism: A Global Economy that works for progress, people, and planet
“กานา” ม้ามืดแห่งแอฟริกา หลุดพ้นจากความยากจนสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
กานานับเป็นอีกหนึ่งกรณีศึกษาที่น่าสนใจในแง่มุมการพัฒนาเศรษฐกิจที่ไม่ได้พูดเพียงแค่อัตราการจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว หากแต่ต่อยอดไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนในวันหน้าด้วย
จีนกับการขยายอิทธิพลในแอฟริกา
ปัจจัยสำคัญที่ทำให้จีนแผ่อิทธิพลในแอฟริกาได้อย่างเบ็ดเสร็จ เด็ดขาด คือ วิธีคิดของรัฐบาลปักกิ่งที่มองแบบ Win-Win โดยจีนก็ได้ประโยชน์และประเทศต่าง ๆ ในแอฟริกาก็ได้ประโยชน์เช่นกัน
“คอสตาริกา”กับการออกแบบรัฐธรรมนูญ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
…คอสตาริกา ประเทศที่ประชาธิปไตยเต็มใบที่ไร้กองทัพ มุ่งพัฒนาตัวเองให้เป็น ecotourism อย่างสมบูรณ์เพื่อตอบสนองเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนโดย “ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง”
The Future is Asian บูรพาภิวัตน์ในศตวรรษที่ 21
The Future is Asian บูรพาภิวัตน์ในศตวรรษที่ 21… ทำไมเราจึงควรอ่านหนังสือเล่มนี้
รู้จักบทบาท Advisory function ขององค์กรตรวจเงินแผ่นดิน
บทบาท Advisory function นับเป็นบทบาทใหม่ที่องค์กรตรวจเงินแผ่นดินหลายประเทศเริ่มให้ความสำคัญ ทั้งนี้เป้าหมายสุดท้าย คือ การยึดโยงกับประชาชนในฐานะเจ้าของเงินแผ่นดิน
องค์กรตรวจเงินแผ่นดินกับการสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน
INTOSAI ผลักดันเรื่องนี้โดยเรียกว่า SDGs audit หรือ การตรวจสอบเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน…SDGs audit ได้รับการพัฒนาจากหน่วยงานวิจัยและพัฒนาของ INTOSAI ซึ่งเรียกว่า INTOSAI Development Initiatives หรือ IDI
การนำ Data Analytics มาใช้ในงานตรวจเงินแผ่นดิน: กรณีศึกษาจาก สตง.อินเดีย
การปรับตัวขององค์กรตรวจเงินแผ่นดินทั่วโลก ควรเริ่มให้ความรู้เกี่ยวกับ DA กับผู้ตรวจสอบก่อนเป็นอันดับแรก เพื่อให้มีความเข้าใจพื้นฐานเรื่องข้อมูลที่สำคัญและจำเป็นต่อการตรวจสอบ รวมถึงความสามารถในจัดกลุ่มข้อมูลแยกแยะประเภทข้อมูลว่าข้อมูลประเภทใดที่สำคัญ ข้อมูลประเภทใดเป็นเพียงข้อมูลสนับสนุน
การปฎิรูปการตรวจเงินแผ่นดินจีนยุค สี จิ้นผิง
การปฎิรูปการตรวจเงินแผ่นดินจีนนับเป็นก้าวสำคัญของการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันในสังคมจีนที่มี สี จิ้นผิง เป็นแม่ทัพใหญ่
การปรับตัวขององค์กรตรวจเงินแผ่นดินทั่วโลกในศตวรรษที่ 21
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอภาพการปรับตัวขององค์กรตรวจเงินแผ่นดินทั่วโลกในศตวรรษที่ 21 เพราะนับตั้งแต่ก้าวเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ องค์กรตรวจเงินแผ่นดินทั่วโลกต่างปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว
จีนกับการจัดการปัญหาคอร์รัปชัน (ตอนจบ)
เมื่อต้นเดือนมีนาคมที่ผ่านมา คณะกรรมการตรวจสอบวินัยส่วนกลางแห่งพรรคคอมมิวนิสต์ (Central Commission for Discipline Inspection) หรือ CCDI หน่วยงานปราบปรามทุจริตของจีน เปิดเผยข้อมูลว่า ในปี ค.ศ. 2015 เจ้าหน้าที่รัฐเกือบ 300,000 คน ถูกลงโทษด้วยข้อหาคอร์รัปชัน นับเป็นสถิติสูงที่สุดในรอบหลายปี หลังจากมีการรณรงค์ต่อต้านคอร์รัปชันในจีน