เศรษฐศาสตร์เข้า“ท่า”
61 ข่าวในคอลัมน์นี้
บูมเมอแรงคิดส์? ผลเชิงบวกของการอยู่อาศัยร่วมกับพ่อแม่ต่อการเข้าร่วมในตลาดแรงงานของผู้หญิงไทย
บูมเมอแรงคิดส์? ผลเชิงบวกของการอยู่อาศัยร่วมกับพ่อแม่ต่อการเข้าร่วมในตลาดแรงงานของผู้หญิงไทย
คนไทยลงทุนแบบไหนผ่านระบบภาษี และแรงจูงใจทางภาษีส่งผลอย่างไร
คนไทยลงทุนแบบไหนผ่านระบบภาษี และแรงจูงใจทางภาษีส่งผลอย่างไร
เหลียวหลัง แลหน้า การสื่อสารนโยบายการเงินไทย
ภายใต้บริบทปัจจุบันที่เครื่องมืออัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทยเผชิญกับข้อจำกัด การสื่อสารทิศทางนโยบายการเงินจะยิ่งมีความสำคัญมากขึ้น จึงเป็นที่น่าจับตามองเป็นอย่างยิ่งว่า กนง. จะสื่อสารนโยบายการเงินในระยะต่อไปอย่างไร
เรียนรู้พฤติกรรมผู้ส่งออกไทย ขายมาก ขายน้อย ขายใคร?
เรียนรู้พฤติกรรมผู้ส่งออกไทย ขายมาก ขายน้อย ขายใคร?
สถาบันทางเศรษฐกิจในภาวะวิกฤติของประเทศไทย
ถึงเวลาที่เศรษฐกิจไทยจะต้องเริ่มทบทวนโครงสร้างเชิงสถาบันของการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจ เพื่อสร้างกลไกถาวรที่สามารถรับมือกับวิกฤติทางเศรษฐกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงที
เมื่อเมืองเปิดใหม่ แรงงานไทย ใคร(ยัง)เสี่ยง
ผลกระทบและแนวทางการให้ความช่วยเหลือลูกจ้างกลุ่มต่าง ๆ รวมถึงนัยด้านความเหลื่อมล้ำทางรายได้จากการปิดเมืองนั้นเป็นอย่างไร? และแม้มาตรการเปิดเมืองเริ่มผ่อนปรนมากขึ้นเป็นระยะ ๆ ลูกจ้างกลุ่มไหนยังมีความเสี่ยงอยู่บ้าง?
ผลกระทบของ COVID-19 ในสายตาของนักเศรษฐศาสตร์
การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ส่งผลกระทบต่อสังคมในหลายมิติ ทั้งสุขภาพ เศรษฐกิจ การจ้างงาน และความไม่แน่นอนในอนาคต นักเศรษฐศาสตร์จึงต่างนำความถนัดของตนเองมาช่วยเสนอมุมมองต่าง ๆ โดยงานวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ COVID-19 แบ่งออกได้เป็น 4 ด้านหลัก ๆ
“ความไม่แน่นอน” ปัจจัยฉุดรั้งเศรษฐกิจไทย?
“ความไม่แน่นอน” ปัจจัยฉุดรั้งเศรษฐกิจไทย?…ในช่วงไตรมาสแรกของปี ที่ดัชนีความผันผวนนี้เพิ่มขึ้นถึง 500% หรือพูดง่ายๆ คือความกลัวของคน (fear gauge) ในตลาดการเงินในกรณี COVID-19 เพิ่มขึ้น 5 เท่าตัว!
ถอดรหัสการหลบเลี่ยงภาษีของบริษัทข้ามชาติผ่านข้อมูลงบการเงิน
ประเด็นการหลบเลี่ยงภาษีนี้ได้รับความสนใจอย่างมากในปัจจุบัน ส่วนหนึ่งเป็นเพราะบทบาทที่สำคัญเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ของบริษัทข้ามชาติ (MNEs) และการทวีความสำคัญของสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ เช่น สิทธิบัตรต่าง ๆ ซึ่งเอื้อต่อการวางแผนภาษีของบริษัทข้ามชาติ
“Inside-Out” โมเดลการเติบโตทางเศรษฐกิจเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ระบบเศรษฐกิจไทยจะเติบโตต่อไปได้อย่างไรในระยะยาว? ในบริบทที่กำลังแรงงานของไทยกำลังปรับลดลงขณะที่การปัจจัยทุนมีข้อจำกัด เศรษฐกิจไทยจึงไม่สามารถเติบโตได้จากการเพิ่ม ‘จำนวน’ ปัจจัยการผลิตเหมือนในอดีต แต่จะต้องเป็นการเติบโตจาก ‘คุณภาพ’ ที่เกิดจากการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและเพิ่มคุณค่าให้กับสินค้าและบริการ สิ่งดังกล่าวไม่ใช่ข้อเสนอแนะใหม่ แต่เหตุใดประเทศไทยจึงไม่สามารถใช้การเพิ่มผลิตภาพการผลิตมานำการพัฒนาได้เสียที?
พฤติกรรมการออมคนไทย 80 ล้านบัญชี 1ใน 3 ของผู้มีเงินฝากมีเงินไม่เกิน 500 บาท
ผลการศึกษาของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ร่วมกับ สถาบันคุ้มครองเงินฝาก สะท้อนให้เห็นพฤติกรรมการออมของคนไทยที่น่าเป็นห่วง ทั้งการกระจุกตัวของเงินฝาก ระดับการออมในบัญชีเงินฝากที่น้อย และการออมในบัญชีที่ให้ผลตอบแทนต่ำ แนะนำให้ส่งเสริมความเข้าใจถึงความสำคัญของการออม กระตุ้นพฤติกรรมการออม ควบคู่ไปกับการส่งเสริมการออมที่มีประสิทธิภาพ
มาตรการกระตุ้นการคลัง ใครได้ ใครเสีย
ธนิสา ทวิชศรี [email protected] สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย […]